ก่ง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม *koŋ (โค้ง; งอ); ร่วมเชื้อสายกับ ภาษาไทย ก้งโค้ง, โกง, โก่ง, โก้งโค้ง, โค้ง

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ก่ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงgòng
ราชบัณฑิตยสภาkong
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/koŋ˨˩/(สัมผัส)

คำกริยา[แก้ไข]

ก่ง (คำอาการนาม การก่ง)

  1. ทำให้งอเป็นรูปโค้ง, ทำให้โค้ง
    #:
    ก่งศร
    #:
    ก่งคอ

คำพ้องความ[แก้ไข]

คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ก่ง (คำอาการนาม ความก่ง)

  1. เป็นรูปโค้ง

คำพ้องความ[แก้ไข]

คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ก่ง (คำอาการนาม ก๋ารก่ง หรือ ก๋านก่ง)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩫ᩠᩵ᨦ (ก็่ง, ทำให้โค้ง)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ก่ง (คำอาการนาม กำก่ง หรือ ความก่ง)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩫ᩠᩵ᨦ (ก็่ง, โค้ง)