ก้ม

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *kɤmꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ກົ້ມ (ก็้ม), ภาษาไทดำ ꪶꪀ꫁ꪣ (โก้ม), ภาษาไทใหญ่ ၵူမ်ႈ (กู้ม), ภาษาอาหม 𑜀𑜤𑜪 (กุํ), ภาษาจ้วง gumj (กุ้ม), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gumj (กุ้ม)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ก้ม
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงgôm
ราชบัณฑิตยสภาkom
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kom˥˩/(สัมผัส)

คำกริยา[แก้ไข]

ก้ม (คำอาการนาม การก้ม)

  1. ทำให้ต่ำลงโดยอาการน้อม (ใช้เฉพาะ หัว หน้า และหลัง)
    ก้มหัว
    ก้มหน้า
    ก้มหลัง

คำประสม[แก้ไข]