ชร

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ชุร และ ชุร่

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาเขมร ជរ (ชร, การเย็บปักถักร้อย)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ชอน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchɔɔn
ราชบัณฑิตยสภาchon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰɔːn˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงชอน

คำนาม[แก้ไข]

ชร

  1. ลวดลาย, ลายประกอบริม, ระบาย
    ขนนเขนยชร

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ชอน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchɔɔn
ราชบัณฑิตยสภาchon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰɔːn˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงชอน

คำนาม[แก้ไข]

ชร

  1. น้ำ
    ชรเซาะเขาเราตกแต่ง
    (คำฤษดี)
    ชรธารา
    (ม. คำหลวง วนปเวสน์)

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ชฺระ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchrá
ราชบัณฑิตยสภาchra
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰraʔ˦˥/(สัมผัส)

คำอนุภาค[แก้ไข]

ชร

  1. เป็นพยางค์หน้าของคำที่ตั้งต้นด้วยตัว ในบทกลอน เช่น ชทึง เป็น ชรทึง

รากศัพท์ 4[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ชอ-รอ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงchɔɔ-rɔɔ
ราชบัณฑิตยสภาcho-ro
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/t͡ɕʰɔː˧.rɔː˧/(สัมผัส)

คำวิสามานยนาม[แก้ไข]

ชร

  1. อักษรย่อของ เชียงราย