ตด

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ตด
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdtòt
ราชบัณฑิตยสภาtot
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tot̚˨˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *k.tɤtᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຕົດ (ต็ด), ภาษาไทใหญ่ တူတ်း (ตู๊ต), ภาษาไทดำ ꪶꪔꪒ (โตด), ภาษาพ่าเก တုတ် (ตุต์), ภาษาอาหม 𑜄𑜢𑜤𑜄𑜫 (ตึต์), ภาษาจ้วง roet, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง doet

คำกริยา[แก้ไข]

ตด (คำอาการนาม การตด)

  1. อาการที่ลมระบายออกทางทวารหนัก, ผายลม

คำนาม[แก้ไข]

ตด

  1. ลมที่ออกจากทวารหนัก

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ตด

  1. ชื่อแมลงพวกด้วงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Carabidae หัวและอกเล็ก แคบ ท้องโต ปีกแข็งคลุมส่วนท้องไม่หมด ลำตัวยาว 2-3 เซนติเมตร สีน้ำตาลเหลืองหรือน้ำตาลแก่ มีลายสีเข้มตามหัว อก และท้อง เมื่อถูกรบกวนสามารถปล่อยสารพิษประเภทควินอลออกมาทางก้นมีเสียงดัง ร้อนและมีควัน ที่สำคัญ เช่น ชนิด Pheropsophus occipitalis (MacLeay), P. javanus (Dejean), ปักษ์ใต้เรียก ขี้ตด