ตู

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: , ต., ติ, ติ๊, ตี, ตี๋, ตึ, ตู่, และ ตู้

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ตู
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdtuu
ราชบัณฑิตยสภาtu
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tuː˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨲᩪ (ตู), ภาษาลาว ຕູ (ตู), ภาษาไทใหญ่ တူ (ตู)ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง duภาษาจ้วง dou

คำสรรพนาม[แก้ไข]

ตู

  1. (โบราณ) สรรพนามบุรุษพหูพจน์ที่ 1 (ไม่รวมบุคคลที่ 2)
    ตูพี่น้องท้องเดียวห้าคน ผู้ชายสาม ผู้หญิงโสง
    ตูสามคนจะไปกินเข้าด้วยกัน

ดูเพิ่ม[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *tuːᴬ (ประตู); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨲᩪ (ตู) (เก่า) หรือ ᨸᨲᩪ (ปตู) (ใหม่), ภาษาปักษ์ใต้ ตู, ภาษาลาว ປະຕູ (ปะตู), ภาษาไทใหญ่ တူ (ตู), ภาษาปู้อี dul, ภาษาจ้วง dou หรือ du

คำนาม[แก้ไข]

ตู

  1. (โบราณ) ประตู

ภาษาปักษ์ใต้[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ตู

  1. ประตู

คำพ้องความ[แก้ไข]

อ้างอิง[แก้ไข]

  • ตู” ใน Central Southern Thai Dictionary (Kaewkhao, Uthai และ Kiatboonyarit, Tawan: ประเทศไทย: US Peace Corps 1986), หน้าที่ 14

ภาษาเลอเวือะตะวันออก[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ตู

  1. ลำไส้