นว

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: นัว, นิ่ว, และ นิ้ว

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี นว (ใหม่); เทียบภาษาสันสกฤต नव (นว, ใหม่)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์[เสียงสมาส]
นะ-วะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงná-wá-
ราชบัณฑิตยสภาna-wa-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/na˦˥.wa˦˥./

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

นว

  1. ใหม่ (ใช้เป็นคำหน้าสมาส)

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี นว (เก้า); เทียบภาษาสันสกฤต नवन् (นวนฺ, เก้า)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์[เสียงสมาส]
นะ-วะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงná-wá-
ราชบัณฑิตยสภาna-wa-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/na˦˥.wa˦˥./

เลข[แก้ไข]

นว

  1. เก้า, จำนวน 9, (ใช้เป็นคำหน้าสมาส)

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์นอ-วอ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงnɔɔ-wɔɔ
ราชบัณฑิตยสภาno-wo
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/nɔː˧.wɔː˧/(สัมผัส)

คำวิสามานยนาม[แก้ไข]

นว

  1. อักษรย่อของ นครสวรรค์

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

เลข[แก้ไข]

นว

  1. เก้า

การผันรูป[แก้ไข]

ไม่จำเป็นต้องผันรูปก็ได้