มูล

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ม.ล., มล., มลู, มูลี, และ มู่ลี่

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต मूल (มูล, ราก) หรือภาษาบาลี มูล (ราก); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ມູນ (มูน), ภาษาเขมร មូល (มูล)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์
{เสียงพยัญชนะซ้ำ}
มูน[เสียงสมาส]
มูน-ละ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmuunmuun-lá-
ราชบัณฑิตยสภาmunmun-la-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/muːn˧/(สัมผัส)/muːn˧.la˦˥./
คำพ้องเสียงมูน
คำนาม[แก้ไข]

มูล

  1. โคน
    รุกขมูล
  2. ราก, รากเหง้า
    มีโทสะเป็นมูล
  3. เค้า
    คดีมีมูล
  4. ต้น
    ชั้นมูล

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี มูล

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์มูน[เสียงสมาส]
มูน-ละ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmuunmuun-lá-
ราชบัณฑิตยสภาmunmun-la-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/muːn˧/(สัมผัส)/muːn˧.la˦˥./
คำพ้องเสียงมูน
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

มูล

  1. มวล, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น
    จัดข้าวของไว้ให้โดยพร้อมมูล
    เตรียมเอกสารหลักฐานไว้ให้พร้อมมูล

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี มูล

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์มูน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmuun
ราชบัณฑิตยสภาmun
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/muːn˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงมูน
คำนาม[แก้ไข]

มูล

  1. (สุภาพ) อุจจาระสัตว์
  2. (สุภาพ) ขี้หรือเศษของสิ่งต่าง ๆ
    มูลไถ
    ขี้ไถ

รากศัพท์ 4[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี มูลา

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์มูน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmuun
ราชบัณฑิตยสภาmun
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/muːn˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงมูน
คำนาม[แก้ไข]

มูล

  1. ดาวฤกษ์ที่ 19 มี 9 ดวง เห็นเป็นรูปสะดือนาค, ดาวช้างน้อย หรือ ดาวแมว ก็เรียก