จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
U+0E22, ย
THAI CHARACTER YO YAK

[U+0E21]
Thai
[U+0E23]
ดูเพิ่ม: ยี, ยี่, ยี้, ยุ, ยู, ยู่, และ ยู้

ภาษาร่วม[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

ตัวอักษร[แก้ไข]

  1. พยัญชนะในอักษรไทย ใช้แทนเสียง /j/ หรือเสียงที่ใกล้เคียงเช่น /ɰ/, /ʎ/

ภาษาไทย[แก้ไข]

วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

  • (รหัสมอร์ส) -.--
  • (อักษรเบรลล์)
  • (ภาษามือ) 𝢚𝪜

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ยอยอ-ยัก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงyɔɔyɔɔ-yák
ราชบัณฑิตยสภาyoyo-yak
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/jɔː˧/(สัมผัส)/jɔː˧.jak̚˦˥/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

ตัวอักษร[แก้ไข]

  1. พยัญชนะตัวที่ 34 เรียกว่ายักษ์ เป็นอักษรต่ำ เป็นได้ทั้งตัวต้นและตัวสะกดในแม่เกย
การใช้[แก้ไข]
  1. สามารถใช้ประกอบกับ และ ◌ี เป็นสระ เอีย เอียะ
  2. โบราณใช้ประกอบกับ เป็นสระ เอีย ที่ไม่มีตัวสะกด และใช้ ย ตัวเดียว เป็นสระ เอีย ที่มีตัวสะกด
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
  • (อักษรเบรลล์) (สระ เอีย), ⠷⠁ (สระ เอียะ)

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ย่อมาจากภาษาบาลี ยชมาน (ผู้บูชายัญ)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ยะ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิง
ราชบัณฑิตยสภาya
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/jaʔ˦˥/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

  1. ชื่อคณะฉันท์ มีลหุ-ครุ-ครุ เรียกว่า ย คณะ

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

  1. ใด

คำสรรพนาม[แก้ไข]

 ช. หรือ ก.

  1. อันใด, สิ่งใด

การผันรูป[แก้ไข]

ศัพท์ที่แจกตามแบบ คุณนาม