ลุ่ม

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ลุ่ม, ภาษาลาว ລຸ່ມ (ลุ่ม), ภาษาคำเมือง ᩃᩩ᩵ᨾ (ลุ่ม), ภาษาคำเมือง ᩃᩩ᩵ᨾ (ลุ่ม), ภาษาไทลื้อ ᦟᦳᧄᧈ (ลุ่ม), ภาษาไทดำ ꪩꪴ꪿ꪣ (ลุ่ม), ภาษาไทใหญ่ လုမ်ႈ (ลุ้ม), ภาษาอาหม 𑜎𑜤𑜪 (ลุํ) , ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง lumq (นาหลุ่ม-นาลุ่ม)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ลุ่ม
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงlûm
ราชบัณฑิตยสภาlum
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/lum˥˩/(สัมผัส)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ลุ่ม (คำอาการนาม กำลุ่ม หรือ ความลุ่ม)

  1. ต่ำ (ใช้แก่ลักษณะพื้นดินซึ่งรับน้ำที่ไหลท่วมได้หรือน้ำขึ้นถึง)
    ที่ลุ่ม
    ที่ราบลุ่ม

คำตรงข้าม[แก้ไข]

ต่ำ

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ลุ่ม

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩃᩩ᩵ᨾ (ลุ่ม)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ลุ่ม (คำอาการนาม กำลุ่ม หรือ ความลุ่ม)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩃᩩ᩵ᨾ (ลุ่ม)