สู

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: , ส., สิ, สี, สี่, สุ, สู่, และ สู้

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์สู
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsǔu
ราชบัณฑิตยสภาsu
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/suː˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *suːᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈᩪ (สู), ภาษาอีสาน สู, ภาษาลาว ສູ (สู), ภาษาไทลื้อ ᦉᦴ (สู), ภาษาไทดำ ꪎꪴ (สุ), ภาษาไทใหญ่ သူ (สู), ภาษาไทใต้คง ᥔᥧᥴ (สู๋), ภาษาอาหม 𑜏𑜥 (สู), ภาษาจ้วง sou

คำสรรพนาม[แก้ไข]

สู

  1. (โบราณ) พวกคุณ, พวกท่าน, พวกเธอ
    กูเห็นว่าสูทั้งสองไปวัด

ดูเพิ่ม[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

สู

  1. (โบราณ) อาย, อับอาย
    มาเดียวเปลี่ยวอกอ้า อายสู
    (ตะเลงพ่าย)
คำประสม[แก้ไข]

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำสรรพนาม[แก้ไข]

สู

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩈᩪ (สู, ท่าน, พวกท่าน)

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *suːᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สู, ภาษาคำเมือง ᩈᩪ (สู), ภาษาลาว ສູ (สู), ภาษาไทลื้อ ᦉᦴ (สู), ภาษาไทดำ ꪎꪴ (สุ), ภาษาไทใหญ่ သူ (สู), ภาษาไทใต้คง ᥔᥧᥴ (สู๋), ภาษาอาหม 𑜏𑜥 (สู), ภาษาจ้วง sou

คำสรรพนาม[แก้ไข]

สู

  1. คำสรรพนามบุรุษที่ 2 รูปพหูพจน์; พวกเธอ, พวกมึง