หลาย

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: หล่าย

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์หฺลาย
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงlǎai
ราชบัณฑิตยสภาlai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/laːj˩˩˦/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰlaːjᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน หลาย, ภาษาลาว ຫຼາຍ (หลาย), ภาษาคำเมือง ᩉᩖᩣ᩠ᨿ (หลาย), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᩃᩣ᩠ᨿ (หลาย), ภาษาไทลื้อ ᦜᦻ (หฺลาย), ภาษาไทดำ ꪨꪱꪥ (หฺลาย), ภาษาไทใหญ่ လၢႆ (ลาย), ภาษาปู้อี laail, ภาษาจ้วง lai, ภาษาแสก หล่าย; เทียบภาษาจีนเก่า (OC *ʔl'aːl)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

หลาย (คำอาการนาม ความหลาย)

  1. มาก, บางทีใช้คู่กับคำ มาก เป็น มากหลาย

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

หลาย (คำอาการนาม ความหลาย)

  1. มาก, อย่างยิ่ง

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

หลาย

  1. ชื่อไม้ต้นชนิด Grewia paniculata Roxb. ในวงศ์ Tiliaceae ผลออกเป็นพวงที่ปลายกิ่ง สุกสีดำ กินได้

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

หลาย (คำอาการนาม ความหลาย)

  1. มาก

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

หลาย (คำอาการนาม ความหลาย)

  1. มาก