จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

U+0E2D, อ
THAI CHARACTER O ANG

[U+0E2C]
Thai
[U+0E2E]

ภาษาร่วม[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

ตัวอักษร[แก้ไข]

  1. พยัญชนะในอักษรไทย ใช้แทนเสียง /ʔ/ หรือเสียงที่ใกล้เคียงเช่น /ʕ/, /ʡ/, /ʢ/, /∅/

ภาษาไทย[แก้ไข]

วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

  • (รหัสมอร์ส) -...-
  • (อักษรเบรลล์)
  • (ภาษามือ)
    • แบบดั้งเดิม พ.ศ. 2496 - A (เทียบเท่า ASL: A)
    • แบบปัจจุบัน - นิ้วชี้งอลงครอบปลายนิ้วโป้ง นิ้วอื่นกำ หันข้าง (เพื่อให้ต่างจาก ส)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ออออ-อ่าง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงɔɔɔɔ-àang
ราชบัณฑิตยสภาoo-ang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔɔː˧/(สัมผัส)/ʔɔː˧.ʔaːŋ˨˩/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

ตัวอักษร[แก้ไข]

  1. พยัญชนะตัวที่ 43 เรียกว่าอ่าง เป็นอักษรกลาง ใช้เป็นพยัญชนะต้น, ใช้นำตัว ให้ผันอย่างอักษรกลาง ปัจจุบันมีเพียง 4 คำ คือ อย่า อยู่ อย่าง อยาก
การใช้[แก้ไข]
  1. ใช้เป็นสระ ออ ก็ได้
  2. สามารถใช้ประกอบกับ ◌็ เป็นสระ เอาะ ที่มีตัวสะกด
  3. สามารถใช้ประกอบกับ ◌ื เป็นสระ อือ ที่ไม่มีตัวสะกด
  4. สามารถใช้ประกอบกับ เป็นสระ เออ เออะ ที่ไม่มีตัวสะกด
  5. สามารถใช้ประกอบกับ และ ◌ื เป็นสระ เอือ เอือะ
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
  • (อักษรเบรลล์) (สระ ออ), ⠕⠁ (สระ เอาะ), (สระ เออ), ⠩⠁ (สระ เออะ), (สระ เอือ), ⠟⠁ (สระ เอือะ)

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาสันสกฤต अ- (อ-, ไม่) หรือภาษาบาลี อ- (ไม่)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์[เสียงสมาส]
อะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงà-
ราชบัณฑิตยสภาa-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔa˨˩./

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

  1. เป็นคำปฏิเสธ แปลว่า ไม่, ไม่ใช่, ใช้ประกอบหน้าศัพท์บาลีและสันสกฤตที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

จาก นิบาต; จากภาษาสันสกฤต अ- (อ-), จากภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม *n̩-

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

อุปสรรค[แก้ไข]

  1. ไม่

คำเกี่ยวข้อง[แก้ไข]

ข้อผิดพลาดสคริปต์: ไม่มีมอดูล "compound/templates"