โลม

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาเขมร លោម (โลม)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์โลม
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงloom
ราชบัณฑิตยสภาlom
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/loːm˧/(สัมผัส)

คำกริยา[แก้ไข]

โลม (คำอาการนาม การโลม)

  1. ทำอาการประคองลูบให้รู้สึกว่าเอ็นดูรักใคร่เป็นต้น

คำนาม[แก้ไข]

โลม

  1. เรียกตัวหนังใหญ่ที่แสดงบทเข้าพระเข้านาง เช่น หนุมานเกี้ยวนางเบญกาย, หนังโลม ก็ว่า

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี โลม

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์โลม[เสียงสมาส]
โลม-มะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงloomloom-má-
ราชบัณฑิตยสภาlomlom-ma-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/loːm˧/(สัมผัส)/loːm˧.ma˦˥./

คำนาม[แก้ไข]

โลม

  1. ขน

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

โลม ก.

  1. ขน

การผันรูป[แก้ไข]