ไส

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ไส้

ภาษาไทย[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ไส
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงsǎi
ราชบัณฑิตยสภาsai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/saj˩˩˦/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩈᩱ (ไส), ภาษาอีสาน ไส, ภาษาลาว ໄສ (ไส), ภาษาไทลื้อ ᦺᦉ (ไส), ภาษาเขิน ᩈᩱ (ไส), ภาษาไทใหญ่ သႆ (ไส), ภาษาอาหม 𑜏𑜩 (สย์)

คำกริยา[แก้ไข]

ไส (คำอาการนาม การไส)

  1. เสือกไป, ผลักไป, ส่งไป, รุนไป, ดันไป

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ไส

  1. (โบราณ) เรียกลูกชายคนที่ 4 ว่า ลูกไส

ภาษาปักษ์ใต้[แก้ไข]

คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

ไส

  1. ทำไม

อ้างอิง[แก้ไข]

  • ไส” ใน Central Southern Thai Dictionary (Kaewkhao, Uthai และ Kiatboonyarit, Tawan: ประเทศไทย: US Peace Corps 1986), หน้าที่ 12

ภาษาอีสาน[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ไส ภาษาคำเมือง ᩈᩱ (ไส), ภาษาลาว ໄສ (ไส), ภาษาไทลื้อ ᦺᦉ (ไส), ภาษาเขิน ᩈᩱ (ไส), ภาษาไทใหญ่ သႆ (ไส), ภาษาอาหม 𑜏𑜩 (สย์)

คำกริยา[แก้ไข]

ไส (คำอาการนาม การไส)

  1. ไส (ผลักไป, รุนไป)

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำสรรพนาม[แก้ไข]

ไส

  1. ที่ไหน