ດັງ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาลาว[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ดัง, ภาษาอีสาน ดัง, ภาษาไทดำ ꪒꪰꪉ (ดัง)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ດັງ (ดัง) (คำอาการนาม ຄວາມດັງ)

  1. เสียงดัง

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɗaŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ดัง หรือ ดั้ง, ภาษาอีสาน ดัง, ภาษาคำเมือง ᨯᩢ᩠ᨦ (ดัง), ภาษาไทลื้อ ᦡᧂ (ดัง), ภาษาไทใหญ่ လင်/ၼင် (ลัง/นัง) (ในคำ ၶူႈလင်/ၶူႈၼင် (ขู้ลัง/ขู้นัง)), ภาษาไทใต้คง ᥘᥒ (ลัง), ภาษาอ่ายตน ဒင် (ดง์) หรือ ꩫင် (นง์), ภาษาอาหม 𑜓𑜂𑜫 (ดง์) หรือ 𑜃𑜂𑜫 (นง์), ภาษาปู้อี ndangl, ภาษาจ้วง ndaeng

คำนาม[แก้ไข]

ດັງ (ดัง)

  1. จมูก

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ดัง, ภาษาคำเมือง ᨯᩢ᩠ᨦ (ดัง)

คำกริยา[แก้ไข]

ດັງ (ดัง) (คำอาการนาม ການດັງ)

  1. (สกรรม) ก่อ, จุด (ไฟ)
    คำพ้องความ: ຈູດ (จูด)
    ຫ້າມດັງໄຟ
    ห้ามดังไฟ
    ห้ามจุดไฟ, ห้ามก่อกองไฟ