ᨳ᩶ᩣ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาเขิน[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *tʰaːꟲ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ท่า, ภาษาคำเมือง ᨳ᩶ᩣ (ถ้า), ภาษาอีสาน ถ้า หรือ ถ่า, ภาษาลาว ຖ້າ (ถ้า), ภาษาไทลื้อ ᦏᦱᧉ (ถ้า), ภาษาไทใหญ่ ထႃႈ (ถ้า), ภาษาพ่าเก ထႃ (ถา), ภาษาอาหม 𑜌𑜠 (ถะ), 𑜌𑜡 (ถา), หรือ 𑜌𑜡𑜠 (ถาะ)

การออกเสียง[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ᨳ᩶ᩣ (ถ้า) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨳ᩶ᩣ)

  1. (อกรรม, สกรรม) รอ

คำพ้องความ[แก้ไข]

รอ

คำสันธาน[แก้ไข]

ᨳ᩶ᩣ (ถ้า)

  1. ถ้า

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

  • (ถอดอักษรและถอดเสียง) ถ้า

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *tʰaːꟲ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ท่า, ภาษาเขิน ᨳ᩶ᩣ (ถ้า), ภาษาอีสาน ถ้า หรือ ถ่า, ภาษาลาว ຖ້າ (ถ้า), ภาษาไทลื้อ ᦏᦱᧉ (ถ้า), ภาษาไทใหญ่ ထႃႈ (ถ้า), ภาษาพ่าเก ထႃ (ถา), ภาษาอาหม 𑜌𑜠 (ถะ), 𑜌𑜡 (ถา), หรือ 𑜌𑜡𑜠 (ถาะ)

คำกริยา[แก้ไข]

ᨳ᩶ᩣ (ถ้า) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨳ᩶ᩣ)

  1. (อกรรม, สกรรม) รอ, คอย
คำพ้องความ[แก้ไข]
รอ

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำสันธาน[แก้ไข]

ᨳ᩶ᩣ (ถ้า)

  1. ถ้า

อ้างอิง[แก้ไข]

  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.