จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
U+554A, 啊
CJK UNIFIED IDEOGRAPH-554A

[U+5549]
CJK Unified Ideographs
[U+554B]

ภาษาร่วม[แก้ไข]

ลำดับขีด
0 ขีด

รากศัพท์[แก้ไข]

ประกอบจากสัญลักษณ์ (ปาก) +

อักษรจีน[แก้ไข]

(รากคังซีที่ 30, +8, 10 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 口弓中口 (RNLR), การป้อนสี่มุม 61020, การประกอบ )

  1. อา! (แสดงการอุทาน)

อ้างอิง[แก้ไข]

  • พจนานุกรมคังซี: หน้า 195 อักขระตัวที่ 4
  • พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 3808
  • พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 416 อักขระตัวที่ 5
  • พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 1 หน้า 634 อักขระตัวที่ 18
  • ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+554A

ภาษาจีน[แก้ไข]

ตัวย่อและตัวเต็ม

การออกเสียง[แก้ไข]


หมายเหตุ: The zero initial /∅-/ is commonly pronounced with a ng-initial /ŋ-/ in some varieties of Cantonese, including Hong Kong Cantonese.

คำอุทาน[แก้ไข]

  1. พินอิน: ā (อา) : โอ้, โอ้โห (แสดงถึงความประหลาดใจหรือความนิยมชมชื่น)
      ―  Ā, chū hóng le!  ―  โอ้ รุ้งโผล่มาแล้ว
  2. พินอิน: á (อ๋า) : ว่ายังไง, ว่ายังไงนะ (แสดงถึงการซักถามหรือขอร้องให้พูดอีกครั้งหนึ่ง)
    明天 [MSC, trad. and simp.]
    Á, nǐ míngtiān dǎo shì qù bù qù ya? [Pinyin]
    ว่ายังไง พรุ่งนี้เธอจะไปหรือไม่ไปกันแน่
    什麼  ―  Á, nǐ shuō shénme?  ―  ว่ายังไงนะ (เธอพูดว่าอะไรนะ)
  3. พินอิน: ǎ (อ่า)  : คำอุทานแสดงถึงความสงสัย
    怎麼 [MSC, trad. and simp.]
    Á? Zhè shì zěnme huí shì ǎ? [Pinyin]
    ว่ายังไงนะ เรื่องมันเป็นอย่างไรกันแน่

คำอุทาน[แก้ไข]

พินอิน: à (อ้า)

  1. คำอุทานแสดงถึงการตอบรับ (ออกเสียงค่อนข้างสั้น)
      ―  À? Hǎo ba.  ―  อ้อ ตกลง
  2. อ้อ, อ๋อ (แสดงถึงความเข้าใจ) (ออกเสียงค่อนข้างยาว)
  3. เขียนท้ายประโยคมีความหมายแสดงน้ำเสียงชื่นชม
  4. เขียนท้ายประโยค แสดงถึงน้ำเสียงยืนยัน แก้ตัว เร่ง กำชับ
  5. เขียนท้ายประโยค แสดงถึงน้ำเสียงที่สงสัย
      ―  Nǐ chī bù chī à?  ―  คุณจะกินหรือไม่กินล่ะ
  6. เขียนแทรกกลางประโยคและอาจหยุดสักพักเพื่อกระตุ้นให้คนสนใจในประโยคต่อไป
  7. เขียนต่อคำที่ยกขึ้นมากล่าว, ...ก็ดี ...ก็ดี (เช่น น้ำก็ดี อาหารก็ดี)


ภาษาญี่ปุ่น[แก้ไข]

คันจิ[แก้ไข]

(เฮียวไงกันจิ พิเศษ)

  1. คำอนุภาคแสดงการอุทาน

การอ่าน[แก้ไข]