จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
U+628A, 把
CJK UNIFIED IDEOGRAPH-628A

[U+6289]
CJK Unified Ideographs
[U+628B]

ภาษาร่วม[แก้ไข]

อักษรจีน[แก้ไข]

(รากคังซีที่ 64, +4, 7 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 手日山 (QAU), การป้อนสี่มุม 57017, การประกอบ )

อ้างอิง[แก้ไข]

  • พจนานุกรมคังซี: หน้า 420 อักขระตัวที่ 21
  • พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 11874
  • พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 768 อักขระตัวที่ 1
  • พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 3 หน้า 1845 อักขระตัวที่ 4
  • ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+628A

ภาษาจีน[แก้ไข]

ตัวย่อและตัวเต็ม

การออกเสียง 1[แก้ไข]


หมายเหตุ:
  • bǎ - all senses except “stem”;
  • bà - “handle; stem”;
  • bǎi - preposition.
  • กวางตุ้ง
  • หมายเหตุ:
    • baa3 - rare variant for “handle; stem”.
  • กั้น
  • แคะ
  • จิ้น
  • หมิ่นตะวันออก
  • หมายเหตุ:
    • bā - “to hold; handle; classifier”;
    • bá - “handle”.
  • หมิ่นใต้
  • หมายเหตุ:
    • pé/pée - vernacular;
    • pá - literary;
    • pà - used in 遏手把.
    หมายเหตุ:
    • bê2 - vernacular;
    • ba2 - literary.
  • อู๋
  • หมายเหตุ:
    • 2po - vernacular;
    • 2pa - literary.
  • เซียง

  • สัมผัส
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/1
    ต้นพยางค์ () (1)
    ท้ายพยางค์ () (98)
    วรรณยุกต์ (調) Rising (X)
    พยางค์เปิด/ปิด (開合) Open
    ส่วน () II
    ฝ่านเชี่ย
    แบกซเตอร์ paeX
    การสืบสร้าง
    เจิ้งจาง ซ่างฟาง /pˠaX/
    พาน อู้ยฺหวิน /pᵚaX/
    ซ่าว หรงเฟิน /paX/
    เอดวิน พุลลีย์แบลงก์ /paɨX/
    หลี่ หรง /paX/
    หวาง ลี่ /paX/
    เบอร์นาร์ด คาร์ลเกรน /paX/
    แปลงเป็นจีนกลาง
    ที่คาดหมาย
    แปลงเป็นกวางตุ้ง
    ที่คาดหมาย
    baa2
    ระบบแบกซ์เตอร์ซาการ์ 1.1 (2014)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/1
    ปักกิ่งใหม่
    (พินอิน)
    จีนยุคกลาง ‹ X ›
    จีนเก่า /*pˁraʔ/
    อังกฤษ grasp (v.)

    Notes for Old Chinese notations in the Baxter–Sagart system:

    * Parentheses "()" indicate uncertain presence;
    * Square brackets "[]" indicate uncertain identity, e.g. *[t] as coda may in fact be *-t or *-p;
    * Angle brackets "<>" indicate infix;
    * Hyphen "-" indicates morpheme boundary;

    * Period "." indicates syllable boundary.
    ระบบเจิ้งจาง (2003)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/1
    หมายเลข 105
    ส่วนประกอบ
    สัทศาสตร์
    กลุ่มสัมผัส
    กลุ่มย่อยสัมผัส 0
    สัมผัสจีนยุคกลาง
    ที่สอดคล้อง
    จีนเก่า /*praːʔ/

    คำกริยา[แก้ไข]

    1. จับ, กุม
    2. ยึดกุม, กุม
    3. เฝ้า, รักษา
    4. (ภาษาปาก) ติด, ใกล้
    5. ยึดเอาไว้เพื่อไม่ให้แตกร้าวออกไปอีก
    6. กริยาช่วยพิเศษวางไว้หน้ากรรมของประโยค ทำให้กรรมนั้นสามารถอยู่ตำแหน่งก่อนหน้ากริยาของประโยคนั้นได้ ทำให้โครงสร้างประโยคในภาษาจีนมีความยืดหยุ่นและซับซ้อนขึ้น การใช้ใกล้เคียงกับคำว่า ให้ หรือ นำ ในภาษาไทย

    คำนาม[แก้ไข]

    1. ที่จับ, ด้าม, หู (ของภาชนะ)
    2. ก้าน (ใช้แก่ดอกไม้ ใบไม้ หรือผลไม้)
    3. คันจับของรถ เป็นต้น
    4. เรียกสิ่งของที่มัดเข้าด้วยกัน

    คำลักษณนาม[แก้ไข]

    1. เรียกของอย่างเครื่องมือมีด้ามจับ เช่น มีด กา พัด
      •   ―  sān dāo  ―  มีดสามเล่ม
    2. เรียกจำนวนที่หยิบขึ้นมาได้ครั้งหนึ่ง
      •   ―    ―  ข้าวสารกำนึง
      • 花兒  ―  兒 huār  ―  ดอกไม้กำนึง
    3. ใช้กับสิ่งนามธรรมบางอย่าง

    คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]

    1. ใช้ตามหลังศัพท์บอกจำนวน หมายถึงมีจำนวนใกล้เคียงกับจำนวนดังกล่าว
      •   ―  ge yuè  ―  เป็นเดือน, เกือบเดือน
      •   ―  bǎi kuài qián  ―  เงินเป็นร้อย, เงินเกือบร้อย

    คำคุณศัพท์[แก้ไข]

    1. ซึ่งร่วมสาบาน
      •   ―  xiōng  ―  พี่ชายร่วมสาบาน
    คำประสม[แก้ไข]

    การออกเสียง 2[แก้ไข]

    ภาษาญี่ปุ่น[แก้ไข]

    คันจิ[แก้ไข]

    (โจโยกันจิสามัญ)

    การอ่าน[แก้ไข]

    ภาษาเวียดนาม[แก้ไข]

    อักษรฮั่น[แก้ไข]

    (transliteration needed) (, bả, bạ, bỡ, bữa, vả, , vỗ, , bẻ, bửa, lả, sấp, trả)