ผู้ใช้:Alifshinobi

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
th ผู้ใช้คนนี้ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาแม่
en This user is a native speaker of English.
lo-4 ผู้ใช้คนนี้ใช้ภาษาลาวได้ในระดับชำนาญ
ຜູ້ໃຊ້ຄົນນີ້ໃຊ້ພາສາລາວໄດ້ໃນລະດັບຊຳນານ
shn-3 ผู้ใช้คนนี้ใช้ภาษาไทใหญ่ ได้ในระดับสูง
ၽူႈၸႂ်ႉၵေႃႉၼႆႉမေႃၸႂ်ႉ ၵႂၢမ်းတႆးလႆႈမွၵ်ႈၸၼ်ႉသုင်

สวัสดีครับ

เป้าหมายหลักปัจจุบัน[แก้ไข]

  • เพิ่มคำลาว ไทใหญ่ และไทลื้อให้มีอย่างน้อย 10,000 คำต่อภาษา ตอนนี้จะเน้นคำใช้บ่อยก่อน โดยเฉพาะคำกริยาประสมและคำนามประสม ผมเน้นคำประสมเพราะส่วนตัวเวลาอ่านภาษาไทลื้อและไทใหญ่ ความงงมักเกิดขึ้นเพราะเข้าใจความหมายคำเดี่ยว ๆ แต่ยังงงเพราะความเดี่ยวเหล่านี้อาจเป็นส่วนหนึ่งของคำประสม ซึ่งมีความหมายที่ไม่สามารถเดาได้ เช่น คำว่า "ต้อง, ควร" (คำช่วยก่อนคำกริยา) ในไทใหญ่ คือ တေလႆႈ (เตไล้) และไทลื้อ คือ ᦈᧅᦺᦡᧉ (จักได้) ซึ่งแปลคำต่อคำเป็นไทยคือ "จะได้ (จักได้)"

วรรณยุกต์ลาว[แก้ไข]

วรรณยุกต์เวียงจันทน์[แก้ไข]

Vientiane tones according to Osatananda (1997, p. 66)
Number Name Chao letters Example
1 mid level 33 ຄ່າ
2 low 1(3) ຂາ
3 high 35 ຄາ
4 high-fall 52 ຄ້າ
5 mid-fall 31 ຂ້າ
Vientiane tones according to Osatananda (1997, p. 40)
ຜາ 1(3) ຜ່າ 33 ຜ້າ 31 ຜາກ 31 ຜັກ 35
ປາ 1(3) ປ່າ 33 ປ້າ 52 ປາກ 31 ປັກ 35
ບາ 1(3) ບ່າ 33 ບ້າ 52 ບາກ 31 ບັກ 35
ພາ 35 ພ່າ 33 ພ້າ 52 ພາກ 52 ພັກ 33

"Tonal Alternation for Low Tone"

About the low tone (e.g., ກາ and ຂາ): "A low tone usually preserves its rising contour shape before a pause. Otherwise, the rise is not realized. This process applies before all major syntactic boundaries."

  • ຫາປາ: /haa 13 paa 13/ -> [haa 11 paa13]
  • ຝີມື: /fii 13 mɯɯ 35/ -> [fii 11 mɯɯ 35]

(Osatananda, 1997, p. 119)

วรรณยุกต์หลวงพระบาง[แก้ไข]

Luang Prabang Lao tones based on Brown (1965)
Number Name Example
1 mid falling rising ຂາ
2 low rising ຄາ, ກາ
3 mid ຂ່າ, ຄ່າ, ກວ່າ, ຄັກ
4 high-falling (glottalized) ຂ້າ, ຂາກ, ກາກ
5 mid-rising (glottalized in C and DL) ຄ້າ, ກ້າ, ຄາກ, ຂັກ, ກັກ
Luang Prabang Lao tones according to Osatananda (2015, p. 122)
Number Name Chao letters Tone bars Example
1 high-falling-to-mid-level 533 ˥˧˧ ຂາ
2 low rising 12 ˩˨ ຄາ, ກາ
3 mid-falling 32 (allotone in DS: 22) ˧˨ (allotone in DS: ˨˨) ຂ່າ, ຄ່າ, ກວ່າ, ຄັກ
4 high level-falling 552 (allotone in DL: 332) ˥˥˨ (allotone in DL: ˧˧˨) ຂ້າ, ຂາກ, ກາກ
5 mid-rising 34 (allotone in DL: 23) ˧˦ (allotone in DL: ˨˧) ຄ້າ, ກ້າ, ຄາກ, ຂັກ, ກັກ
Luang Prabang Lao tones according to Osatananda (2015, p. 122)
ຜາ 533 ຜ່າ 32 ຜ້າ 552 ຜາກ /552/ [332] ຜັກ /12/ [12]
ປາ 12 ປ່າ 32 ປ້າ 34 ປາກ /552/ [332] ປັກ /12/ [12]
ບາ 12 ບ່າ 32 ບ້າ 34 ບາກ /552/ [332] ບັກ /12/ [12]
ພາ 12 ພ່າ 32 ພ້າ 34 ພາກ /34/ [23] ພັກ /32/ [22]

Sources[แก้ไข]

Notes[แก้ไข]

  • You might find more research studies when you use the names of researchers in Thai. Varisa Osatananda is วริษา โอสถานนท์, and Phinnarat Akharawatthanakun is พิณรัตน์ อัครวัฒนากุล.

การเรียงลำดับตัวอักษรธรรมล้านนา (collating order) ตามหลักยูนิโค้ด[แก้ไข]

ดูเพิ่มที่ https://www.unicode.org/L2/L2007/07007r-n3207r-lanna.pdf

  • สระ เอีย กับ อัว (ถ้าลืมให้ใช้ "เมีย" กับ "ผัว" เป็นตัวช่วยจำ): ให้สันนิษฐานว่า ย กับ ว เป็นพยัญชนะตัวที่สองของพยัญชนะควบกล้ำ จึงต้องเรียงก่อน เ- และ ไม้กง ตามลำดับ เช่น ᩈ᩠ᨿᩮ (สเย, เสีย) คือ ส + ย สะกด + เ- และ ᨲ᩠ᩅᩫ (ตว็, ตัว) คือ ต + ว สะกด + ไม้กง
  • ถ้ามีไม้วรรณยุกต์ ให้เขียนหลังพยัญชนะควบกล้ำ เหมือนดั่งที่ ในภาษาไทย ไม้วรรณยุกต์ต้องเขียนไว้บนพยัญชนะต้นตัวที่สองในพยัญชนะควบกล้ำทั่วไป ยกตัวอย่าง เสี้ยง กับ ม่วน เพราะ ย กับ ว ได้สันนิษฐานว่าเป็นเหมือน ร ล ว ใน ครั้ง, กล้า, กว้าง ตามลำดับ คำว่า เสี้ยง (ᩈ᩠ᨿ᩶ᨦ (สย้ง)) กับ ม่วน (ᨾ᩠ᩅ᩵ᩁ (มว่ร)) จึงต้องเขียน ส + ย สะกด + ไม้โท + ง และ ม + ว สะกด + ไม้เอก + ร ตามลำดับ
  • สระซ้ายมือต้องมาก่อน เช่น เมือง (ᨾᩮᩬᩥᨦ (เมอิง)) เขียน ม + เ- + อ ล่าง + -ิ + ง และสระใต้พยัญชนะต้องเรียงก่อนสระข้างบน เช่น ᨤᩬᩴ (ฅอํ) คือ ฅ + อ + -ํ (ถ้าลืมให้ท่อง "ซ้าย ล่าง บน")
  • สระ อำ ให้เขียน -า ก่อน -ํ เช่น ᨠᩣᩴ (กาํ) คือ ก + -า + -ํ ถ้ามีไม้วรรณยุกต์ ให้เขียนบนตัวพยัญชนะก่อนเขียน -า เช่น ถ้ำ (ᨳ᩶ᩣᩴ (ถ้าํ)) กับ น้ำ (ᨶ᩶ᩣᩴ (น้าํ)) คือ ถ + ไม้โท + -า + -ํ และ น + ไม้โท + -า + -ํ ตามลำดับ

หน้าย่อย[แก้ไข]


ดูเพิ่ม[แก้ไข]

ลิงก์[แก้ไข]

พจนานุกรมที่ผมชอบ[แก้ไข]