กาด
หน้าตา
ดูเพิ่ม: ก๊าด
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) กาษ
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *kaːtᴰ, จากภาษาจีนฮั่นช่วงปลาย *kes, จากภาษาจีนเก่า 芥 (OC *kreːds, “ผักกาด”)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠᩣ᩠ᨯ (กาด), ภาษาลาว ກາດ (กาด), ภาษาไทลื้อ ᦂᦱᧆ (กาด), ภาษาไทใหญ่ ၵၢတ်ႇ (ก่าต), ภาษาจ้วง gat (กาด), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gat (กาด) ซึ่งทั้งหมดหมายถึง “ผักกาด” และ “ตลาด”
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | กาด | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | gàat |
ราชบัณฑิตยสภา | kat | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kaːt̚˨˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง |
คำนาม
[แก้ไข]กาด
- (ผัก~) ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดหลายสกุล หลายวงศ์ บางชนิดใช้ใบ บางชนิดใช้หัวเป็นผัก เช่น ผักกาดกวางตุ้ง (Brassica chinensis L.) ผักกาดขมหรือผักกาดเขียว (B. juncea Czern. et Coss.) ผักกาดขาวหรือแป๊ะช่าย (B. chinensis L. var. pekinensis Rupr.) ผักกาดหัวหรือไช้เท้า (Raphanus sativus L.) ในวงศ์ Cruciferae, ผักกาดหอม (Lactuca sativa L.) ในวงศ์ Compositae, ผักเหล่านี้เป็นพรรณไม้ที่นำเข้ามาปลูกเพื่อเป็นอาหาร
- (พบได้ยาก) ตลาด
- กาดสวนแก้ว
- กาดหลวง
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Pittayaporn, Pittayawat. (2014). "Layers of Chinese Loanwords in Protosouthwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai". MANUSYA. 17. pp. 55-56 of pp. 47-68.
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kaːt˨˩/
คำนาม
[แก้ไข]กาด
- อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩣ᩠ᨯ (กาด)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːt̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยพบได้ยาก
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- th:พืช
- th:ผัก
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย