งู
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *ŋwɯːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨦᩪ (งู), ภาษาลาว ງູ (งู), ภาษาไทลื้อ ᦇᦴ (งู), ภาษาไทดำ ꪉꪴ (งุ), ภาษาไทใหญ่ ငူး (งู๊), ภาษาไทใต้คง ᥒᥧᥰ (งู๊), ภาษาอาหม 𑜂𑜥 (งู), ภาษาปู้อี ngeaz, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง nguz,ภาษาจ้วง ngwz, ภาษาจ้วงแบบหนง nguz, ภาษาแสก งั๊ว
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | งู | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | nguu |
ราชบัณฑิตยสภา | ngu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ŋuː˧/(ส) | |
ไฟล์เสียง |
คำนาม[แก้ไข]
งู
- สัตว์เลื้อยคลานชนิดหนึ่ง ไม่มีขา ไม่มีเปลือกตา มีเกล็ดปกคลุมผิวหนังทั่วทั้งลำตัว ลักษณะความยาวจะขึ้นอยู่กับแต่ละชนิด (คำลักษณนาม ตัว)
- (ภาษาปาก) อวัยวะเพศชาย
คำพ้องความ[แก้ไข]
- ดูที่ อรรถาภิธาน:งู
คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]
งู
|
|
หมวดหมู่:
- ภาษาไทย:สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีลิงก์เสียง
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาดัตช์/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเกาหลี/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเยอรมัน/t+