ซาง
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ซาง | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | saang |
ราชบัณฑิตยสภา | sang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /saːŋ˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ซาง
- ชื่อไผ่หลายชนิดในสกุล Dendrocalamus วงศ์ Gramineae ชนิดปล้องเล็กยาว เนื้อบาง ใช้เป็นลำกล้องเป่าลูกดอกหรือลูกดินเหนียวปั้นกลมเป็นต้น เรียกว่า ไม้ซาง
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ซาง
- ชื่อโรคชนิดหนึ่ง ตามตำราแพทย์แผนโบราณว่าเป็นแก่เด็กเล็ก มีลักษณะเกิดเป็นเม็ดขึ้นในปากในคอ ลิ้นเป็นฝ้า มีอาการ เช่น ไม่กินนม ไม่กินข้าว ปวดหัวตัวร้อน มีชื่อต่าง ๆ เช่น ซางเพลิง ซางน้ำ ซางขโมย ซางโจร ซางโค
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ซาง
- อีกรูปหนึ่งของ ᨪᩣ᩠ᨦ (ซาง)
ภาษาแสก
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɟaːŋꟲ, จากจีนยุคกลาง 象 (MC zjangX); ร่วมเชื้อสายกับไทย ช้าง, คำเมือง ᨩ᩶ᩣ᩠ᨦ (ช้าง), อีสาน ซ่าง, ลาว ຊ້າງ (ซ้าง), ไทลื้อ ᦋᦱᧂᧉ (ช้าง), ไทดำ ꪋ꫁ꪱꪉ (จ้̱าง), ไทใหญ่ ၸၢင်ႉ (จ๎าง), ไทใต้คง ᥓᥣᥒᥳ (จ๎าง), อาหม 𑜋𑜂𑜫 (ฉง์), จ้วง ciengh
คำนาม
[แก้ไข]ซาง
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ซาง
- บ่อน้ำ
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- th:โรค
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาแสกที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาแสกที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาแสกที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- คำหลักภาษาแสก
- คำนามภาษาแสก
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำนามภาษาอีสาน