ซื่อ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *zɤːᴮ (“ตรง”); ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨪᩨ᩵ (ซื่), เขิน ᨪᩨ᩵ (ซื่), อีสาน ซื่อ หรือ ซือ, ลาว ຊື່ (ซื่), ไทลื้อ ᦌᦹᧈ (ซื่), ไทดำ ꪏꪳ꪿ (ซึ่), ไทขาว ꪏꪳꫀ, ไทใหญ่ သိုဝ်ႈ (สึ้ว), ไทใต้คง ᥔᥪ (สื), พ่าเก ꩬိုဝ် (สึว์), อาหม 𑜏𑜢𑜤𑜈𑜫 (สึว์), จ้วง soh, จ้วงแบบหนง swh
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ซื่อ | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sʉ̂ʉ |
ราชบัณฑิตยสภา | sue | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /sɯː˥˩/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ซื่อ (คำอาการนาม ความซื่อ)
- ตรง
- คนซื่อ
- ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม, ทื่อ ก็ว่า
- พูดซื่อ ๆ
- ไม่คดโกง
- หน้าซื่อ
- นิ่งเฉยอยู่ไม่กระดุกกระดิกเหมือนสิ่งไม่มีชีวิต, ทื่อ ก็ว่า
- แข็งซื่อ
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɟɤːᴮ, จากจีนยุคกลาง 字 (MC dziH); ร่วมเชื้อสายกับไทย ชื่อ, คำเมือง ᨩᩨ᩵ (ชื่), ลาว ຊື່ (ซื่), ไทลื้อ ᦋᦹᧈ (ชื่), ไทใหญ่ ၸိုဝ်ႈ (จึ้ว), อาหม 𑜋𑜢𑜤𑜈𑜫 (ฉึว์) หรือ 𑜋𑜥 (ฉู)
คำนาม
[แก้ไข]ซื่อ
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *zɤːᴮ (“ตรง”) ร่วมเชื้อสายกับไทย ซื่อ, คำเมือง ᨪᩨ᩵ (ซื่), เขิน ᨪᩨ᩵ (ซื่), ลาว ຊື່ (ซื่), ไทลื้อ ᦌᦹᧈ (ซื่), ไทดำ ꪏꪳ꪿ (ซึ่), ไทใหญ่ သိုဝ်ႈ (สึ้ว), ไทใต้คง ᥔᥪ (สื), อาหม 𑜏𑜢𑜤𑜈𑜫 (สึว์), จ้วง soh, จ้วงแบบหนง swh
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ซื่อ (คำอาการนาม ความซื่อ)
- ซื่อ
- ตรง
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ไทย entries with incorrect language header
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- ศัพท์ภาษาอีสานที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาอีสานที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาอีสานที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำนามภาษาอีสาน
- อีสาน entries with incorrect language header
- คำคุณศัพท์ภาษาอีสาน