ดั้ง
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ดั้ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dâng |
ราชบัณฑิตยสภา | dang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /daŋ˥˩/(ส) |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
คำนาม[แก้ไข]
ดั้ง
- เครื่องถือสำหรับปิดป้องศัสตราวุธ รูปคล้ายกาบกล้วย, โบราณใช้ว่า ด้าง ก็มี
- เรียกเสาเรือนเครื่องสับที่ตั้งอยู่บนหลังรอดตรงกึ่งกลางความยาวของตัวรอดขึ้นไปรับอกไก่ ว่า เสาดั้ง
- เรียกเสาที่ตั้งบนขื่อสำหรับรับอกไก่ ว่า ดั้งแขวน
- เรียกเรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค จัดเป็น 2 สายขนาบเรือกลอง ไปข้างหน้าเรือไชยและเรือพระที่นั่งลำทรง อาจมีกี่คู่ก็ได้ ว่า เรือดั้ง
คำกริยา[แก้ไข]
ดั้ง (คำอาการนาม การดั้ง)
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
แผลงมาจาก ดัง, จากภาษาไทดั้งเดิม *ɗaŋᴬ,, ภาษาจ้วง ndaeng
คำนาม[แก้ไข]
ดั้ง
รากศัพท์ 3[แก้ไข]
จากภาษาญี่ปุ่น 段 (ดัง)
คำนาม[แก้ไข]
ดั้ง
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ไทย terms with redundant head parameter
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีความหมายโบราณ
- ภาษาไทย:สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- ภาษาไทย:ยืมจากภาษาญี่ปุ่น
- ภาษาไทย:รากศัพท์จากภาษาญี่ปุ่น