ข้ามไปเนื้อหา

ตั้ง

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย

[แก้ไข]

รูปแบบอื่น

[แก้ไข]

รากศัพท์

[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *taŋꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨲᩢ᩠᩶ᨦ (ตั้ง), ภาษาลาว ຕັ້ງ (ตั้ง), ภาษาไทลื้อ ᦎᧂᧉ (ตั้ง), ภาษาไทใหญ่ တင်ႈ (ตั้ง), ภาษาอาหม 𑜄𑜂𑜫 (ตง์), ภาษาจ้วง daengj

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ตั้ง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงdtâng
ราชบัณฑิตยสภาtang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/taŋ˥˩/(สัมผัส)

คำกริยา

[แก้ไข]

ตั้ง (คำอาการนาม การตั้ง)

  1. ชูตัว, ชูตัวหรือทำให้ทรงตัวในลักษณะที่ไม่ใช่นอนหรือล้ม
    ขนตั้งชัน
    ต้นข้าวเอนแล้วกลับตั้งขึ้น
    ตั้งขวด
    ตั้งตุ๊กตา
  2. ทรง, ดำรง
    ตั้งอยู่ในคลองธรรม
    ตั้งอยู่ในศีลในธรรม
  3. ทำให้มีขึ้น, สร้างให้มีขึ้น
    ตั้งตำแหน่งใหม่
    ตั้งบ้านตั้งเรือน
  4. ยกฐานะให้สูงขึ้น
    ตั้งพระราชาคณะ
    ตั้งเปรียญ
  5. กำหนด
    ตั้งราคา
  6. วาง
    ตั้งสำรับ
  7. วางซ้อนกันมาก
    ตั้งหนังสือเป็นกองสูง
  8. เริ่ม, เริ่มมี
    ตั้งครรภ์
    ตั้งเค้า
    ตั้งท้อง

คำบุพบท

[แก้ไข]

ตั้ง

  1. คำแสดงความหมายว่า มาก หรือ นาน
    เสียตั้งชั่ง
    ไปตั้งปี

คำลักษณนาม

[แก้ไข]

ตั้ง

  1. เรียกของที่วางซ้อนกันมาก ๆ
    หนังสือตั้งหนึ่ง
    หนังสือ 2 ตั้ง

คำนาม

[แก้ไข]

ตั้ง

  1. ครั้ง
    มาลองกันดูสักตั้ง

ภาษาคำเมือง

[แก้ไข]

รากศัพท์ 1

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำกริยา

[แก้ไข]

ตั้ง (คำอาการนาม ก๋ารตั้ง หรือ ก๋านตั้ง)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨲᩢ᩠᩶ᨦ (ตั้ง)

คำคุณศัพท์

[แก้ไข]

ตั้ง (คำอาการนาม กำตั้ง หรือ ความตั้ง)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨲᩢ᩠᩶ᨦ (ตั้ง)

คำลักษณนาม

[แก้ไข]

ตั้ง

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨲᩢ᩠᩶ᨦ (ตั้ง)

รากศัพท์ 2

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำนาม

[แก้ไข]

ตั้ง

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨴᩢ᩠᩵ᨦ (ทั่ง)

รากศัพท์ 3

[แก้ไข]

การออกเสียง

[แก้ไข]

คำกริยา

[แก้ไข]

ตั้ง (คำอาการนาม ก๋ารตั้ง หรือ ก๋านตั้ง)

  1. (สกรรม) {{altform|nod|ᨴᩢ᩠᩵ᨦ}

ภาษาปักษ์ใต้

[แก้ไข]

คำกริยา

[แก้ไข]

ตั้ง (คำอาการนาม ก่านตั้ง)

  1. วาง
    เป๋าตังค์ตั้งโย่นั้น
    กระเป๋าเงินวางอยู่ตรงนั้น