ตื่น
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *k.tɯːnᴮ; ร่วมเชื้อสายกับอีสาน ตื่น, ลาว ຕື່ນ (ตื่น), คำเมือง ᨲᩨ᩠᩵ᨶ (ตื่น), เขิน ᨲᩨ᩠᩵ᨶ (ตื่น), ไทลื้อ ᦎᦹᧃᧈ (ตื่น), ไทดำ ꪔꪳ꪿ꪙ (ตึ่น), ไทขาว ꪔꪳꪙꫀ, ไทใหญ่ တိုၼ်ႇ (ตึ่น), อาหม 𑜄𑜢𑜤𑜃𑜫 (ตึน์), จ้วงแบบจั่วเจียง dwnq, จ้วง dinq
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ตื่น | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dtʉ̀ʉn |
ราชบัณฑิตยสภา | tuen | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tɯːn˨˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]ตื่น (คำอาการนาม การตื่น)
- ฟื้นจากหลับ
- ตื่นนอน
- ไม่หลับ
- ตื่นอยู่
- แสดงอาการผิดปรกติเพราะตกใจ ดีใจ หรือแปลกใจ เป็นต้น
- วัวตื่น
- ควายตื่น
- ตื่นเวที
- ตื่นยศ
- ตื่นไฟ
- รู้สิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ในคำว่า พระพุทธเจ้าเป็นผู้ตื่นแล้ว
- โดยปริยายหมายความว่า รู้เท่าทัน, รู้ตัวขึ้น
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ฟื้นจากหลับ
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /tɯːn˨˩/
คำกริยา
[แก้ไข]หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯːn
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาฝรั่งเศส/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอังกฤษ/t+
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำอกรรมกริยาภาษาคำเมือง