นรก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข] เคยเสนอใน “รู้ไหมว่า”
รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาสันสกฤต नरक (นรก) หรือภาษาบาลี นรก ซึ่งอาจร่วมเชื้อสายกับภาษากรีกโบราณ νέρτερος (nérteros), ภาษาละติน inferus (“ต่ำ, นรก, ยมโลก”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร នរក (นรก);
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | นะ-รก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ná-rók |
ราชบัณฑิตยสภา | na-rok | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /na˦˥.rok̚˦˥/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]นรก
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:นรก
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]แดนที่ผู้ทำบาปถูกลงโทษ
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]นี + ณฺวุ หรือ นี + อก หรือ นี + รฺ + อก หรือ นี + รฺ + ณฺวุ
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
[แก้ไข]นรก ช.
การผันรูป
[แก้ไข]ตารางการผันรูปของ "นรก" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | นรโก | นรกา |
กรรมการก (ทุติยา) | นรกํ | นรเก |
กรณการก (ตติยา) | นรเกน | นรเกหิ หรือ นรเกภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | นรกสฺส หรือ นรกาย หรือ นรกตฺถํ | นรกานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | นรกสฺมา หรือ นรกมฺหา หรือ นรกา | นรเกหิ หรือ นรเกภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | นรกสฺส | นรกานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | นรกสฺมิํ หรือ นรกมฺหิ หรือ นรเก | นรเกสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | นรก | นรกา |
หมวดหมู่:
- ศัพท์ที่เคยเสนอในรู้ไหมว่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาบาลี
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาบาลี
- สัมผัส:ภาษาไทย/ok̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 2 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาคำเมือง/t+
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาไทใหญ่/t+
- อังกฤษ translations
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ณฺวุ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย อก
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมหน่วยคำเติมเชื่อม รฺ
- คำหลักภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลี
- คำนามภาษาบาลีในอักษรไทย