ปฐม

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี ปฐม (ที่ 1); เทียบภาษาสันสกฤต प्रथम (ปฺรถม)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ปะ-ถม[เสียงสมาส]
ปะ-ถม-มะ-
[เสียงสมาส]
ปะ-ถม-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงbpà-tǒmbpà-tǒm-má-bpà-tǒm-
ราชบัณฑิตยสภาpa-thompa-thom-ma-pa-thom-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/pa˨˩.tʰom˩˩˦/(สัมผัส)/pa˨˩.tʰom˩˩˦.ma˦˥.//pa˨˩.tʰom˩˩˦./

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ปฐม

  1. (ภาษาหนังสือ) ประถม, ลำดับแรก, ลำดับเบื้องต้น
  2. ชั้นที่ 1, เรียกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นที่ 1 ในตระกูลจุลจอมเกล้าว่า ปฐมจุลจอมเกล้า ปฐมจุลจอมเกล้าวิเศษ

ดูเพิ่ม[แก้ไข]

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ปฐฺ +‎ อม หรือ ปถฺ +‎ อม; จากภาษาสันสกฤต प्रथम (ปฺรถม). The retroflexion is caused by assimilation to the r before it was dropped.

เลข[แก้ไข]

ปฐม

  1. ที่หนึ่ง

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ปฐม

  1. แรก
  2. มาก่อนสุด
  3. (ไวยากรณ์) เมื่อขยาย ปุริส (บุรุษ), มันแปลเป็น “ที่สาม”.

การผันรูป[แก้ไข]

คำสืบทอด[แก้ไข]

  • พม่า: ပထမ (ปถม), ပဌမ (ปฐม)
  • มอญ: ပထမ (ปถม), ပဌမ (ปฐม)
  • เขมร: បឋម (บฐม)
  • ไทย: ปฐม

อ้างอิง[แก้ไข]

  • Pali Text Society (1921-1925), “ปฐม”, in Pali-English Dictionary‎, London: Chipstead
  • Warder A.K. (2001) Introduction to Pali, Oxford: The Pali Text Society