ปา
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ปา | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bpaa |
ราชบัณฑิตยสภา | pa | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /paː˧/(สัมผัส) |
คำกริยา[แก้ไข]
ปา (คำอาการนาม การปา)
- ซัดไปด้วยอาการยกแขนขึ้นสูงแล้วเอี้ยวตัว
- (ภาษาปาก) คำใช้แทนกิริยาได้หลายอย่างแล้วแต่คำประกอบที่ทำให้รู้ว่าเกินกว่าที่คาดคิด, มักใช้ว่า ปาขึ้นไป หรือ ปาเข้าไป
- ค่าโดยสารปาขึ้นไปตั้ง 10 บาท
- กว่าจะทำงานเสร็จก็ปาเข้าไปตั้ง 2 ทุ่ม
ภาษาอีสาน[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
- (ขอนแก่น) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /paː˩˨˩/
- คำอ่านภาษาไทย:ป่าต่ำ-ขึ้นตก (ประมาณ)
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
คำกริยา[แก้ไข]
ปา (อาการนาม การปา)
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *plaːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ปลา, ภาษาคำเมือง ᨸᩖᩣ (ปลา), ภาษาลาว ປາ (ปา), ภาษาไทลื้อ ᦔᦱ (ปา), ภาษาไทดำ ꪜꪱ (ปา), ภาษาไทใหญ่ ပႃ (ปา), ภาษาไทใต้คง ᥙᥣ (ปา), ภาษาอาหม 𑜆𑜠 (ปะ) หรือ 𑜆𑜡 (ปา), ภาษาจ้วง bya, ภาษาปู้อี byal, ภาษาแสก ปร๋า
คำนาม[แก้ไข]
ปา
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาอีสานที่มีการออกเสียง IPA
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำกริยาภาษาอีสาน
- ศัพท์ภาษาอีสานที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาอีสานที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำนามภาษาอีสาน