ปู

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

วิกิพีเดียมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์ปู
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงbpuu
ราชบัณฑิตยสภาpu
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/puː˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *puːᴬ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *pɯwᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ປູ (ปู), ภาษาไทดำ ꪜꪴ (ปุ), ภาษาคำเมือง ᨸᩪ (ปู), ภาษาไทลื้อ ᦔᦴ (ปู), ภาษาไทใหญ่ ပူ (ปู), ภาษาอาหม 𑜆𑜥 (ปู), ภาษาจ้วง baeu, ภาษาปู้อี baul

คำนาม[แก้ไข]

ปู

  1. ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Crustacea มีรยางค์ขา ๕ คู่ คู่แรกเป็นก้าม รยางค์ที่ปล้องท้องไม่ใช้ในการว่ายน้ำ มีหลายวงศ์ เช่น ปูดำหรือปูทะเล ปูม้า ปูแสม
  2. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์บุษยะ มี ๕ ดวง, ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวสิธยะ ดาวสมอสำเภา ดาวบุษย์ ดาวปุษยะ หรือ ดาวปุสสะ ก็เรียก

คำพ้องความ[แก้ไข]

(สัตว์): ดูที่ อรรถาภิธาน:ปู

คำแปลภาษาอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

คำกริยา[แก้ไข]

ปู (คำอาการนาม การปู)

  1. วางทอดลงเป็นพื้น เช่น ปูกระดาน ปูหินอ่อน, วางแผ่ลง กับพื้น เช่น ปูเสื่อ ปูผ้า.

ภาษาเขมรเหนือ[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

เทียบภาษาเขมร ពូ (พู)

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ปู

  1. อา, น้าชาย

ภาษาคำเมือง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ปู

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨻᩖᩪ (พลู)
  2. อีกรูปหนึ่งของ ᨻᩪ (พู)

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

ปู (คำลักษณนาม ตัว)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨸᩪ (ปู)

ภาษาเลอเวือะตะวันตก[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ปู

  1. หนา

ภาษาเลอเวือะตะวันออก[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ปู

  1. หนา