ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกล้า"

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
cleanup headings
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
cleanup headings
บรรทัดที่ 9: บรรทัดที่ 9:
==== คำนาม ====
==== คำนาม ====
{{th-noun}}
{{th-noun}}

# [[หัว]] ([[ใช้]][[เฉพาะ]][[ใน]][[โวหาร]][[แสดง]][[ความเคารพ]][[อย่าง]][[สูง]])
# [[หัว]] ([[ใช้]][[เฉพาะ]][[ใน]][[โวหาร]][[แสดง]][[ความเคารพ]][[อย่าง]][[สูง]])
{{ตย|มารดาบังเกิดเกล้า}}
{{ตย|มารดาบังเกิดเกล้า}}
บรรทัดที่ 32: บรรทัดที่ 33:
==== คำกริยา ====
==== คำกริยา ====
{{th-verb}}
{{th-verb}}

# [[มุ่น]][[ผม]][[ให้]][[เรียบร้อย]]
# [[มุ่น]][[ผม]][[ให้]][[เรียบร้อย]]
{{ตย|เกล้าจุก}}
{{ตย|เกล้าจุก}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:45, 18 มิถุนายน 2564

ภาษาไทย

การออกเสียง

การแบ่งพยางค์กฺล้าว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงglâao
ราชบัณฑิตยสภาklao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/klaːw˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

จากภาษาไทดั้งเดิม *krawᶜ (หัว); เทียบภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม *qulu, ภาษาจีน ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ເກົ້າ (เก็้า)ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mbaeuj, ภาษาจ้วง gyaeuj

คำนาม

เกล้า

  1. หัว (ใช้เฉพาะในโวหารแสดงความเคารพอย่างสูง)
    มารดาบังเกิดเกล้า
คำประสม

รากศัพท์ 2

จากภาษาไทดั้งเดิม *klawᶜ (มวยผม); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ເກົ້າ (เก็้า)

คำกริยา

เกล้า (คำอาการนาม การเกล้า)

  1. มุ่นผมให้เรียบร้อย
    เกล้าจุก
    เกล้ามวย