มน

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์มน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmon
ราชบัณฑิตยสภาmon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mon˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

คำกริยา[แก้ไข]

มน

  1. (โหราศาสตร์) อยู่กับที่ (ใช้แก่ดาวนพเคราะห์ ซึ่งปรากฏแก่ตาเป็น 3 ทาง คือ เสริด ว่า ไปข้างหน้า, พักร ว่า ถอยหลัง, มน ว่า อยู่กับที่)

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน มน, ภาษาลาว ມົນ (ม็น), ภาษาคำเมือง ᨾᩫ᩠ᨶ (ม็น), ภาษาเขิน ᨾᩫ᩠ᨶ (ม็น), ภาษาไทลื้อ ᦙᦳᧃ (มุน), ภาษาไทใหญ่ မူၼ်း (มู๊น), ภาษาจ้วง mwnz (เมิน, มน, กลม, ไม่แหลม)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์มน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmon
ราชบัณฑิตยสภาmon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mon˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

มน (คำอาการนาม ความมน)

  1. กลม ๆ, โค้ง ๆ, ไม่เป็นเหลี่ยม
    ทองหลางใบมน
    ขอบโต๊ะมน
    ปกเสื้อมน

รากศัพท์ 3[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาบาลี มน; เทียบภาษาสันสกฤต मनस् (มนสฺ)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์มน[เสียงสมาส]
มะ-นะ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmonmá-ná-
ราชบัณฑิตยสภาmonma-na-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mon˧/(สัมผัส)/ma˦˥.na˦˥./
คำพ้องเสียง

คำนาม[แก้ไข]

มน

  1. ใจ

ภาษาบาลี[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

คำนาม[แก้ไข]

มน ช. หรือ ก.

  1. อีกรูปหนึ่งของ มนสฺ: ใจ

วิภัตติ[แก้ไข]

ข้อผิดพลาด Lua ใน package.lua บรรทัดที่ 80: module 'Module:pi-Latn-translit' not found