ราง
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | ราง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | raang |
ราชบัณฑิตยสภา | rang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /raːŋ˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
จากภาษาไทดั้งเดิม *rwɯəŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຮາງ (ฮาง), ภาษาไทใหญ่ ႁၢင်း (ห๊าง), ภาษาอาหม 𑜍𑜂𑜫 (รง์), ภาษาจ้วง rangz (rangz naemx รางน้ำ)
คำนาม[แก้ไข]
ราง (คำลักษณนาม ราง)
- ร่องที่ขุดเป็นทางสำหรับให้น้ำไหล
- สิ่งสำหรับรองน้ำฝนที่ชายคาเป็นต้น มักทำด้วยสังกะสียาวเป็นแนวไปตามชายคา
- ไม้ที่ขุดหรือต่อให้เป็นร่องยาว ๆ หรือปล้องไม้ไผ่ผ่าซีก มีด้านสกัดหัวท้ายสำหรับใส่อาหารหมูหรือย้อมผ้าเป็นต้น
- โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น
- รางระนาด
- เหล็กที่ใช้เป็นทางเดินของล้อเลื่อน
- รางรถไฟ
- ไม้เจาะเป็นร่องยาวสำหรับใส่เหรียญบาทเรียงกันได้ 80 เหรียญ หรือ 1 ชั่ง, ปัจจุบันเป็นแผ่นไม้เจาะเป็นร่องสำหรับใส่เหรียญบาทเรียงกันเป็นแถว ๆ แผ่นหนึ่งมี 10 แถว แถวหนึ่งใส่เหรียญบาทได้ 10 เหรียญ รวมเป็น 100 บาท
คำลักษณนาม[แก้ไข]
ราง
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
คำกริยา[แก้ไข]
ราง (คำอาการนาม การราง)
รากศัพท์ 3[แก้ไข]
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
ราง
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]
ราง
- ไม่กระจ่าง, ไม่ชัดเจน
ดูเพิ่ม[แก้ไข]
ภาษาคำเมือง[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /haːŋ/
คำนาม[แก้ไข]
ราง
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːŋ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียง IPA
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำลักษณนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ราง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยาภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียง IPA
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่ไม่มีรูปแบบอื่นในอักษรไทธรรม