สม
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ภาษาไทย[แก้ไข]
รากศัพท์ 1[แก้ไข]
จากภาษาสันสกฤต सम (สม), จากภาษาบาลี สม
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | สม | [เสียงสมาส] สะ-มะ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sǒm | sà-má- |
ราชบัณฑิตยสภา | som | sa-ma- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /som˩˩˦/(ส) | /sa˨˩.ma˦˥./ |
คำคุณศัพท์[แก้ไข]
สม
- เหมาะ, เหมาะกับ, ควรแก่, รับกัน
- บ่าวสาวคู่นี้สมกัน
- เขาแต่งตัวสมฐานะ
- แสดงละครได้สมบทบาท
- เขาต่อสู้กันอย่างสมศักดิ์ศรี
- เด็กคนนี้แต่งตัวไม่สมวัย
- หัวแหวนสมกับเรือนแหวน
- ตรงกับ
- สมคะเน
- สมปรารถนา
- สมความตั้งใจ
- (ภาษาปาก) สมน้ำหน้า
- สมแล้วที่สอบตก เพราะขี้เกียจนัก
รากศัพท์ 2[แก้ไข]
การออกเสียง[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์ | สม | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | sǒm |
ราชบัณฑิตยสภา | som | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /som˩˩˦/(ส) |
คำกริยาวิเศษณ์[แก้ไข]
สม