หมก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (เลิกใช้) มก
รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰmokᴰˢ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩫᨠ (หม็ก), ภาษาลาว ໝົກ (หม็ก), ภาษาไทลื้อ ᦷᦖᧅ (โหฺมก), ภาษาไทใหญ่ မူၵ်း (มู๊ก), ภาษาไทใต้คง ᥛᥨᥐᥱ (โม่ก), ภาษาพ่าเก မုက် (มุก์), ภาษาอาหม *𑜉𑜤𑜀𑜫 (*มุก์), ภาษาจ้วง moek, ภาษาจ้วงแบบหนง moak
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | หฺมก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mòk |
ราชบัณฑิตยสภา | mok | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /mok̚˨˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]หมก (คำอาการนาม การหมก)
- ซุกไว้ใต้
- หมกดิน
- หมกโคลน
- หมกทราย
- หลบหน้า
- ไปหมกหัวอยู่ที่ไหน
- ทิ้งสุม ๆ ไว้
- เสื้อผ้าใช้แล้วอย่าหมกไว้
- เรียกวิธีทำอาหารบางอย่างให้สุกด้วยการหมกไฟ
- หมกปลา
- หมกหัวมันเทศ
คำนาม
[แก้ไข]หมก
- อาหารที่ทำให้สุกด้วยการหมกไฟ
ภาษาปักษ์ใต้
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]หมก
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/ok̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำนามภาษาไทย
- คำหลักภาษาปักษ์ใต้
- คำนามภาษาปักษ์ใต้
- การร้องขอความสนใจเกี่ยวกับภาษาปักษ์ใต้
- attention lacking explanation