ข้ามไปเนื้อหา

หมอบ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทย

[แก้ไข]

รากศัพท์

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩬᨷ (หมอบ), ภาษาอีสาน หมอบ หรือ หมูบ, ภาษาลาว ໝອບ (หมอบ) หรือ ໝູບ (หมูบ), ภาษาไทลื้อ ᦷᦙᧇ (โมบ), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨾᩬᨷ (หมอบ) หรือ ᩉ᩠ᨾᩪᨷ (หมูบ), ภาษาไทใหญ่ မွပ်ႇ (ม่อ̂ป)

การออกเสียง

[แก้ไข]
การแบ่งพยางค์หฺมอบ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmɔ̀ɔp
ราชบัณฑิตยสภาmop
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mɔːp̚˨˩/(สัมผัส)

คำกริยา

[แก้ไข]

หมอบ (คำอาการนาม การหมอบ)

  1. กิริยาที่คู้เข่าลงและยอบตัวให้ท่อนแขนส่วนล่างราบอยู่กับพื้น, ยอบตัวลงในอาการคล้ายคลึงเช่นนั้น
  2. (ภาษาปาก) สิ้นเรี่ยวสิ้นแรง, ลุกไม่ขึ้น, หมดแรง, ล้มป่วย
    ถูกตีเสียหมอบ
    เป็นไข้เสียหมอบ
    เขาทำงานหนักติดต่อกันหลายวัน พอเสร็จงานก็หมอบ
  3. (ภาษาปาก) สะบักสะบอม
    เขาถูกอันธพาลรุมเสียหมอบ
  4. (ภาษาปาก) ไม่สู้ต่อ, ยอมแพ้
  5. (เกมไพ่) คว่ำหน้าไพ่ลงบนโต๊ะ

อ้างอิง

[แก้ไข]

ภาษาอีสาน

[แก้ไข]

รูปแบบอื่น

[แก้ไข]

รากศัพท์

[แก้ไข]

ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หมอบ, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩬᨷ (หมอบ), ภาษาลาว ໝອບ (หมอบ) หรือ ໝູບ (หมูบ), ภาษาไทลื้อ ᦷᦙᧇ (โมบ), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨾᩬᨷ (หมอบ) หรือ ᩉ᩠ᨾᩪᨷ (หมูบ), ภาษาไทใหญ่ မွပ်ႇ (ม่อ̂ป)

คำกริยา

[แก้ไข]

หมอบ (คำอาการนาม การหมอบ)

  1. หมอบ