อภัยโทษ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | อะ-ไพ-ยะ-โทด | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | à-pai-yá-tôot |
ราชบัณฑิตยสภา | a-phai-ya-thot | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔa˨˩.pʰaj˧.ja˦˥.tʰoːt̚˥˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]อภัยโทษ
- (ทางการ, เลิกใช้) ความยกโทษ, ความงดโทษ
- 2460, ดำรงราชานุภาพ, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ, “คำนำ ว่าด้วยตำนานเห่เรือ”, in ประชุมกาพย์เห่เรือ, พระนคร: หอพระสมุดวชิรญาณ, page 3:
- ถ้าความที่ข้าพเจ้าแสดงวิปลาศคลาศเคลื่อนบ้างอย่างไร ขอท่านผู้อ่านจงให้อภัยโทษด้วย
- (กฎหมาย) การยกโทษ เปลี่ยนโทษหนักเป็นเบา หรือลดโทษให้
- 2475 มิถุนายน 27, “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕”, in ประกาศพระราชบัญญัติและพระราชกำหนดต่าง ๆ รัชชกาลที่ 7, volume 8, พระนคร: โรงพิมพ์บำรุงนุกูลกิจ, page 149:
- คณะกรรมการราษฎรมีอำนาจให้อภัยโทษ
- 2546 กันยายน 5, “ระเบียบกระทรวงยุติธรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการประหารชีวิตนักโทษ พ.ศ. 2546”, in ราชกิจจานุเบกษา, volume 120, number พิเศษ 102 ง, page 7:
- ให้ผู้บัญชาการเรือนจำ...นำเอกสารอันเกี่ยวข้องกับผลการขอพระราชทานอภัยโทษไปอ่านให้นักโทษผู้นั้นฟัง