อิธ
หน้าตา
ดูเพิ่ม: อธิ
ภาษาบาลี
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]อิม + ธ (“อัพยย, แทนสัตตมีวิภัตติ”); จากสันสกฤตพระเวท इध (อิธ), จากสันสกฤต इह (อิห), จากอินโด-อารยันดั้งเดิม *Hidʰá, จากอินโด-อิเรเนียนดั้งเดิม *Hidʰá, จากอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม *h₁i-dʰe- (“here”).[1] Compare บาลี idha, อเวสตะ 𐬌𐬛𐬁 (อิดา), 𐬌𐬜𐬀 (อิธะ).
The form ihá was generalized in Vedic to conform with other place-based adverbs ending in -ห, whereas the Middle Indo-Aryan languages generalized -ธ.
รูปแบบอื่น
[แก้ไข]เขียนด้วยอักษรอื่น
นิบาต
[แก้ไข]อิธ
- ใน...นี้
คำกริยาวิเศษณ์
[แก้ไข]อิธ
- ที่นี่
คำสรรพนาม
[แก้ไข]อิธ
- (อิธ/อิมสฺมิํ/อิมมฺหิ ฐานสฺมิํ) อธิกรณการก เอกพจน์ของ อิม
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]อิธ
- อธิกรณการก เอกพจน์ของ อิม = อิมสฺมิํ, อิมมฺหิ, [[..]] (อิตถีลิงค์)
- ↑ Lubotsky, Alexander (2011) The Indo-Aryan Inherited Lexicon (in progress) (Indo-European Etymological Dictionary Project), Leiden University
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาบาลีที่เติมปัจจัย ธ
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาสันสกฤตพระเวท
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาสันสกฤต
- ศัพท์ภาษาบาลีที่สืบทอดจากภาษาอินโด-อารยันดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาอินโด-อารยันดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาบาลีที่สืบทอดจากภาษาอินโด-อิเรเนียนดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาอินโด-อิเรเนียนดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาบาลีที่สืบทอดจากภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาบาลีที่รับมาจากภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม
- นิบาตภาษาบาลี
- คำหลักภาษาบาลี
- คำกริยาวิเศษณ์ภาษาบาลี
- รูปผันภาษาบาลี
- รูปผันคำสรรพนามภาษาบาลี
- รูปผันคำคุณศัพท์ภาษาบาลี