เข่า
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทดั้งเดิม *χowᴮ; ร่วมเชื้อสายกับลาว ເຂົ່າ (เข็่า), ไทใหญ่ ၶဝ်ႇ (ข่ว), อาหม 𑜁𑜧𑜈𑜫 (ขว์ว์) หรือ 𑜁𑜧 (ขว์), จ้วง gaeuq, จ้วงแบบจั่วเจียง kaeuq
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เข่า | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kào |
ราชบัณฑิตยสภา | khao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰaw˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]เข่า
- ส่วนที่ต่อระหว่างขาส่วนบนกับขาส่วนล่าง สำหรับคู้ขาเข้าและเหยียดขาออก
- คุกเข่า
- ตีเข่า
- ขึ้นเข่า
- (สุโขทัย) เขา (ภูเขา หรือ เขาสัตว์)
การใช้
[แก้ไข]ราชาศัพท์ว่า พระชานุ
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- เข้า (ตามนิรุกติศาสตร์)
การออกเสียง
[แก้ไข]- (ขอนแก่น) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kʰaw˨˩/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: เข่าต่ำ-ตก (ประมาณ)
คำนาม
[แก้ไข]เข่า
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- สัมผัส:ภาษาไทย/aw
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ไทย entries with incorrect language header
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ภาษาไทยแบบสุโขทัย
- ศัพท์ภาษาอีสานที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำนามภาษาอีสาน
- อีสาน entries with incorrect language header