เผือก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | เผือก | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pʉ̀ʉak |
ราชบัณฑิตยสภา | phueak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰɯa̯k̚˨˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *pʰɯəkᴰ¹ᴸ (“เผือก (ไม้ล้มลุก)”), จากไทดั้งเดิม *prɯəkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับลาว ເຜືອກ (เผือก), ไทใหญ่ ၽိူၵ်ႇ (เผิ่ก), ไทใต้คง ᥚᥫᥐᥱ (เผ่อ̂ก), อาหม 𑜇𑜢𑜤𑜀𑜫 (ผึก์), จ้วง biek,จ้วงแบบจั่วเจียง pwek; เทียบสุ่ย qxgaags, ไหลดั้งเดิม *hraːk และ ออสโตรนีเซียนดั้งเดิม *biRaq (ซึ่งเป็นรากของ ไปวัน viaq, มาเลเซีย birah)
คำนาม
[แก้ไข]เผือก
- ชื่อไม้ล้มลุกมีหัวชนิด Colocasia esculenta (L.) Schott ในวงศ์ Araceae ต้นและใบคล้ายบอน หัวเมื่อทำให้สุกแล้วกินได้ (คำลักษณนาม: ต้น หรือ หัว)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *pʰɯəkᴰ¹ᴸ (“เผือก (ขาว)”), จากจีนยุคกลาง 白 (MC baek); ร่วมเชื้อสายกับลาว ເຜືອກ (เผือก), ไทใหญ่ ၽိူၵ်ႇ (เผิ่ก), ไทใต้คง ᥚᥫᥐᥱ (เผ่อ̂ก), จ้วงแบบจั่วเจียง pwek (เผือก); เทียบเบดั้งเดิม *pʰiakᴰ²
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]เผือก
รากศัพท์ 3
[แก้ไข]แผลงมาจาก เสือก
คำกริยา
[แก้ไข]เผือก (คำอาการนาม การเผือก)
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯa̯k̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ต้น
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม หัว
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ขำขัน