แถ
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | แถ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | tɛ̌ɛ |
ราชบัณฑิตยสภา | thae | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tʰɛː˩˩˦/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]แถ (คำอาการนาม การแถ)
- อาการที่นกเป็นต้นเอียงปีกร่อนลง
- อาการที่ของแบน ๆ เช่นกระเบื้องหรือโปสต์การ์ด แฉลบหรือร่อนไปเฉียง ๆ
- (ในเชิงเปรียบเทียบ) อาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น
- วัน ๆ ไม่เห็นทำการทำงาน ได้แต่แถไปโน่นไปนี่
- (ภาษาปาก, สแลง, ล่วงเกิน, ดูหมิ่น) เถียงหรือชี้แจงไปข้าง ๆ คู ๆ
ภาษาญ้อ
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]แถ
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]เทียบภาษาจีนยุคกลาง 剃 (MC thejH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ແຖ (แถ), ภาษาจ้วงใต้ te (แถ)
คำกริยา
[แก้ไข]แถ (คำอาการนาม การแถ)
อ้างอิง
[แก้ไข]- เมชฌ สอดส่องกฤษ. (2552). "รายการคำศัพท์ภาษาไทยถิ่นอีสานที่คาดว่าจะเป็นคำศัพท์ร่วมเชื้อสายตระกูลไท–จีน." วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. [1]