แนม
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | แนม | |
---|---|---|
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | nɛɛm |
ราชบัณฑิตยสภา | naem | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /nɛːm˧/(สัมผัส) |
คำกริยา
[แก้ไข]แนม (คำอาการนาม การแนม)
- แกม
- ดอกแนมใบ
- แนบ, ชิด
- ผลผกาเกิดกับกิ่งก้านระกุแกมแนมใบวิบูลระบัดบัง (ม. ร่ายยาว มหาพน)
- โกมลไม่แย้มยังแนมใบ (อิเหนา)
- แทรกแซมหรือแซงเข้าไป
- เอาลิ่มแนมให้แน่น
- เรือตะเข้แนมทังสองข้าง (สามดวง)
- แทรกเพิ่มเติม, ควบคู่กันไป
- น้ำพริกกะปิมีปลาทูทอดแนม
- เสียดสี ในคำว่า เหน็บแนม
ภาษาเลอเวือะตะวันออก
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากปะหล่องดั้งเดิม *cənɤm, จากมอญ-เขมรดั้งเดิม *cn₁am ~ *cn₁aam
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /nɛm/
คำนาม
[แก้ไข]แนม
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]แนม (คำอาการนาม การแนม)
หมวดหมู่:
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɛːm
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่สืบทอดจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่รับมาจากภาษาปะหล่องดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่สืบทอดจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่รับมาจากภาษามอญ-เขมรดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาเลอเวือะตะวันออกที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาเลอเวือะตะวันออก
- คำนามภาษาเลอเวือะตะวันออก
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำกริยาภาษาอีสาน