ไทเก๊ก

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี
ดูเพิ่ม: ไท้เก๊ก

ภาษาไทย[แก้ไข]

รูปแบบอื่น[แก้ไข]

รากศัพท์[แก้ไข]

ยืมมาจากภาษาแต้จิ๋ว 太極 (tai3 gêg8)

การออกเสียง[แก้ไข]

การแบ่งพยางค์
{ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น}
ไท-เก็๊ก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงtai-gék
ราชบัณฑิตยสภาthai-kek
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tʰaj˧.kek̚˦˥/(สัมผัส)

คำนาม[แก้ไข]

ไทเก๊ก

  1. ดุลยภาพบำบัดอย่างหนึ่ง เป็นการบริหารร่างกายควบคู่กับการทำสมาธิเพื่อนำพลังแห่งหยิน-หยางไปป้องกันบำบัดโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ ช่วยให้มีอายุวัฒนะ ยึดหลักการเบื้องต้นของการบำบัดโรคด้วย “ชี่กง” หรือการบำบัดโรคด้วยการฝึกพลังลมปราณ การเคลื่อนไหวอย่างมีจังหวะ การถ่วงดุลน้ำหนักของร่างกายอย่างถูกต้อง และการหายใจโดยไม่ต้องออกแรง

อ้างอิง[แก้ไข]

  • พจนานุกรมการสาธารณสุขไทย พ.ศ. 2561 ฉบับ 100 ปี การสาธารณสุขไทย. (2561). นนทบุรี: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. →ISBN