ไห้
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *t.hajꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ไห่, ภาษาลาว ໄຫ້ (ไห้), ภาษาไทใหญ่ ႁႆႈ (ไห้), ภาษาไทดำ ꪼꪬ꫁ (ไห้), ภาษาอาหม 𑜑𑜩 (หย์) หรือ 𑜍𑜩 (รย์), ภาษาจ้วง haej
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ไฮ่ | ฮ่าย | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | hâi | hâai |
ราชบัณฑิตยสภา | hai | hai | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /haj˥˩/(สัมผัส) | /haːj˥˩/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | ให้ |
คำกริยา
[แก้ไข]ไห้
คำพ้องความ
[แก้ไข]- ดูที่ อรรถาภิธาน:ร้องไห้
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /haj˦˦ʔ/
คำกริยา
[แก้ไข]ไห้ (คำอาการนาม ก๋ารไห้ หรือ ก๋านไห้)
ภาษาอีสาน
[แก้ไข]คำกริยา
[แก้ไข]ไห้ (คำอาการนาม การไห้)
- อีกรูปหนึ่งของ ไห่
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอาหม/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/aj
- สัมผัส:ภาษาไทย/aːj
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีคำพ้องเสียง
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีนัยโบราณ
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- ศัพท์ภาษาคำเมืองที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมือง
- คำกริยาภาษาคำเมืองในอักษรไทย
- คำอกรรมกริยาภาษาคำเมือง
- คำหลักภาษาอีสาน
- คำกริยาภาษาอีสาน