ຝຸງ
หน้าตา
ภาษาลาว
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง 縫 (MC bjowng|bjowngH)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาอีสาน ฝุง, ภาษาคำเมือง ᨺᩩᨦ (ฝุง), ภาษาเขิน ᨺᩩᨦ (ฝุง), ภาษาไทลื้อ ᦚᦳᧂ (ฝุง), ภาษาไทใหญ่ ၽုင် (ผุง) หรือ ၾုင် (ฝุง)
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เวียงจันทน์) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [fuŋ˩(˧)]
- (หลวงพระบาง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): [fuŋ˥˧˧]
- การแบ่งพยางค์: ຝຸງ
- สัมผัส: -uŋ
คำกริยา
[แก้ไข]ຝຸງ • (ฝุง) (คำอาการนาม ການຝຸງ)
คำพ้องความ
[แก้ไข]ชุน
- ຈຸນ (จุน)
อ้างอิง
[แก้ไข]- ↑ Pittayaporn, P. (2014). Layers of Chinese loanwords in proto-southwestern Tai as evidence for the dating of the spread of southwestern Tai. Manusya J Humanit, 20, 47-68.