ၼုမ်ႇ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทใหญ่[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰnumᴮ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หนุ่ม, ภาษาลาว ໜຸ່ມ (หนุ่ม), ภาษาไทลื้อ ᦐᦳᧄᧈ (หฺนุ่ม), ภาษาไทใต้คง ᥘᥧᥛᥱ (ลู่ม) หรือ ᥢᥧᥛᥱ (นู่ม), ภาษาอาหม 𑜃𑜤𑜉𑜫 (นุม์); เทียบภาษาชวา nom

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ၼုမ်ႇ (นุ่ม) (คำอาการนาม တၢင်းၼုမ်ႇ)

  1. หนุ่ม, สาว

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *numᴮ²; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย นุ่ม, ภาษาลาว ນຸ່ມ (นุ่ม), ภาษาไทลื้อ ᦐᦳᧄᧈ (หฺนุ่ม) หรือ ᦷᦓᧄᧈ (โน่ม), ภาษาอาหม *𑜃𑜤𑜪 (*นุํ)

คำคุณศัพท์[แก้ไข]

ၼုမ်ႇ (นุ่ม) (คำอาการนาม တၢင်းၼုမ်ႇ)

  1. นุ่ม, อ่อนละมุน