ᦂᧁᧉ
หน้าตา
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *kɤwꟲ, จากภาษาจีนยุคกลาง 九 (MC kjuwX), จากภาษาจีนเก่า 九 (OC *kuʔ), จากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *d/s-kəw; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เก้า, ภาษาคำเมือง ᨠᩮᩢ᩶ᩣ (เกั้า), ภาษาลาว ເກົ້າ (เก็้า), ภาษาไทดำ ꪹꪀ꫁ꪱ (เก้า), ภาษาไทใหญ่ ၵဝ်ႈ (ก้ว), ภาษาไทใต้คง ᥐᥝᥲ (เก้า), ภาษาอาหม 𑜀𑜧 (กว์), ภาษาปู้อี guz, ภาษาจ้วง gouj, ภาษาแสก กู̂
การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kaw˩˧/
เลข
[แก้ไข]ᦂᧁᧉ (เก้า)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทลื้อ
- เลขภาษาไทลื้อ
- เลขภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่