ᦃᧁᧉ

จาก วิกิพจนานุกรม พจนานุกรมเสรี

ภาษาไทลื้อ[แก้ไข]

การออกเสียง[แก้ไข]

รากศัพท์ 1[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *χawꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เข้า, ภาษาลาว ເຂົ້າ (เข็้า), ภาษาไทดำ ꪹꪄ꫁ꪱ (เฃ้า), ภาษาไทใต้คง ᥑᥝᥲ (เฃ้า), ภาษาไทใหญ่ ၶဝ်ႈ (ข้ว), ภาษาอาหม 𑜁𑜧 (ขว์), 𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์), 𑜁𑜧𑜈𑜫 (ขว์ว์) หรือ 𑜁𑜨𑜧𑜈𑜫 (ขอ̂ว์ว์), ภาษาจ้วง haeuj

คำกริยา[แก้ไข]

ᦃᧁᧉ (เฃ้า) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦃᧁᧉ)

  1. เข้า
    ᦕᦴᧉ ᦅᦳᧃ ᦃᧁᧉ ᦺᦔ ᦺᦓ ᦷᦆᧄᧈ ᦔᦱᧈ ᦺᦙᧉ
    ผู้ คุน เฃ้า ไป ไน โฅ่ม ป่า ไม้
    ผู้คนเข้าไปในเขตป่าไม้

รากศัพท์ 2[แก้ไข]

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̬.qawꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ข้าว, ภาษาคำเมือง ᨡᩮᩢ᩶ᩣ (เขั้า), ภาษาลาว ເຂົ້າ (เข็้า), ภาษาไทดำ ꪹꪄ꫁ꪱ (เฃ้า), ภาษาไทใหญ่ ၶဝ်ႈ (ข้ว), ภาษาพ่าเก ၵွ် (เขา), ภาษาอาหม 𑜁𑜧 (ขว์), 𑜁𑜨𑜧 (ขอ̂ว์) หรือ 𑜁𑜧𑜈𑜫 (ขว์ว์), ภาษาจ้วง haeux, ภาษาแสก เกฺา

คำนาม[แก้ไข]

ᦃᧁᧉ (เฃ้า)

  1. ข้าว
    ᦂᦲᧃ ᦃᧁᧉ ᦂᦱᧂ ᦆᦹᧃ
    กีน เฃ้า กาง ฅืน
    กินข้าวกลางคืน