ᦉᦲᧈ
หน้าตา
ภาษาไทลื้อ
[แก้ไข]การออกเสียง
[แก้ไข]- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ɕiː˧˥/
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *siːᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง 四 (MC sijH), จากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม *b-ləj; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย สี่, ภาษาคำเมือง ᩈᩦ᩵ (สี่), ภาษาลาว ສີ່ (สี่), ภาษาไทดำ ꪎꪲ꪿ (สิ่), ภาษาไทใหญ่ သီႇ (สี่), ภาษาไทใต้คง ᥔᥤᥱ (สี่), ภาษาอาหม 𑜏𑜣 (สี), ภาษาปู้อี sis, ภาษาจ้วง seiq
เลข
[แก้ไข]ᦉᦲᧈ (สี่)
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนกลาง 戲/戏 (xì)
คำนาม
[แก้ไข]ᦉᦲᧈ (สี่) (คำลักษณนาม ᦵᦟᦲᧂᧈ)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาซีโน-ทิเบตันดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทลื้อ
- เลขภาษาไทลื้อ
- เลขภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่ยืมมาจากภาษาจีนกลาง
- ศัพท์ภาษาไทลื้อที่รับมาจากภาษาจีนกลาง
- คำนามภาษาไทลื้อ
- คำนามภาษาไทลื้อในอักษรไทลื้อใหม่
- คำนามภาษาไทลื้อที่ใช้คำลักษณนาม ᦵᦟᦲᧂᧈ
- ภาษาไทลื้อแบบจีน