ᨦ᩠ᩅᨦ
หน้าตา
ภาษาเขิน
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย งวง, ภาษาลาว ງວງ (งวง), ภาษาคำเมือง ᨦ᩠ᩅᨦ (งวง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦇᧂ (โงง), ภาษาไทใหญ่ ငူင်း (งู๊ง), ภาษาอาหม 𑜂𑜤𑜂𑜫 (งุง์)
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ŋoːŋ˧˧/
คำนาม
[แก้ไข]ᨦ᩠ᩅᨦ (งวง)
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]- (ถอดอักษรและถอดเสียง) งวง
รากศัพท์
[แก้ไข]ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย งวง, ภาษาลาว ງວງ (งวง), ภาษาเขิน ᨦ᩠ᩅᨦ (งวง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦇᧂ (โงง), ภาษาไทใหญ่ ငူင်း (งู๊ง), ภาษาอาหม 𑜂𑜤𑜂𑜫 (งุง์)
การออกเสียง
[แก้ไข]- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ŋuaŋ˧˧/
คำนาม
[แก้ไข]ᨦ᩠ᩅᨦ (งวง)
ลูกคำ
[แก้ไข]- ᩉ᩠ᨾᩬᩴ᩶ᨦ᩠ᩅᨦ (หมอํ้งวง)
อ้างอิง
[แก้ไข]- พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.